วิธีการปรับระบบเข้าหากัน
จากการศึกษาโครงสร้างของระบบพบว่ามีโครงสร้างฐานข้อมูลที่ซ้ำกัน 3 ตาราง
คือ
1. ตาราง
User_stock ของระบบคลังสินค้า
2. ตาราง User ของ ระบบการขนส่งสินค้า
3. ตาราง User 1ของ ระบบการขาย
การปรับระบบเข้าหากันจึงใช้วิธีการปรับตาราง
ทั้ง 3
ตารางเป็น ตารางที่มีความละเอียดและตรงตามการใช้งานของระบบ
โครงสร้าง ของตาราง User ของแต่ละระบบ มีรายละเอียดดังนี้
ระบบคลังสินค้า ระบบการขนส่ง ระบบการขาย
เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ทั้ง 3 ตาราง
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล User ใหม่
เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล User ใหม่
ระบบจะต้องมีการอัพเดตข้อมูลไปยัง ตาราง User_stock ของระบบการคลัง
ตาราง User ของ
ระบบการขนส่งสินค้า ตาราง User 1 ของ ระบบการขาย
พบว่ามี ตาราง Order ซ้ำ
กัน 2 ตาราง คือ 1.ตาราง Oder ของระบบการขนส่งสินค้า 2.ตาราง
Order 2 รายการสั่งซื้อ
โครงสร้าง
ของตาราง
Order ของแต่ละระบบ มีรายละเอียดดังนี้
ระบบการขนส่ง ระบบการขาย
เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ทั้ง 2 ตาราง
ระบบการขนส่ง ระบบการขาย
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล Orderใหม่
จากระบบการขาย ก็จะเพิ่มข้อมูลไปที่ Order ของระบบการขนส่งด้วย
ระบบการขนส่ง ระบบการขาย
พบว่ามี ตาราง Product ซ้ำ กัน 2 ตาราง คือ 1.ตาราง
Product ของระบบคลังสินค้า
2.ตาราง Product ของระบบ
การขาย
โครงสร้าง
ของตาราง
Product ของแต่ละระบบ มีรายละเอียดดังนี้
ระบบคลังสินค้า ระบบการขาย
เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ทั้ง 2 ตาราง
ระบบคลังสินค้า ระบบการขาย
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล Product ใหม่
เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล Product ใหม่ ของระบบคลังจะต้องมีการอัพเดตข้อมูลไปยัง ตาราง Product ของระบบการขายด้วย
ระบบคลังสินค้า ระบบการขาย
พบว่ามี ตาราง Picking ซ้ำ กัน 2 ตาราง คือ 1. ตาราง
Picking ของระบบคลังสินค้า 2.ตารางเบิกสินค้า ของระบบการขนส่ง
โครงสร้าง ของตาราง Product ของแต่ละระบบ มีรายละเอียดดังนี้
ระบบคลังสินค้า ระบบการขนส่ง
เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ทั้ง 2 ตาราง
ระบบคลังสินค้า ระบบการขนส่ง
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล
ข้อมูลการเบิกสินค้าจากระบบการขนส่งใหม่
เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
ของระบบคลังจะต้องมีการอัพเดตข้อมูลไปยัง ตาราง Picking ของระบบคลังสินค้า
แนวทางการต่อยอดหรือพัฒนาต่อในอนาคต
- เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้งานเพื่อหาข้อผิดพลาด
หรือสิ่งที่ต้องเพิ่ม เพื่อให้ครอบคลุมกับการทำงานของระบบ
- ลดกระบวนการทำงานหรือส่วนที่ไม่จำเป็น
เพี่อให้ระบบทำงานได้รวดเร็วขึ้น
- Update ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตามที่ต้องการ
- จัดเก็บข้อมูลทุกครั้ง
เมื่อมีการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบเพื่อลดการสูญหายของข้อมูล
- พัฒนาและอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น